«إِيَّاكُمْ وَالدُّخُولَ عَلَى النِّسَاءِ» فَقَالَ رَجُلٌ مِنَ الأَنْصَارِ: يَا رَسُولَ اللَّهِ، أَفَرَأَيْتَ الحَمْوَ؟ قَالَ: «الحَمْوُ المَوْتُ».
[صحيح] - [متفق عليه] - [صحيح البخاري: 5232]
المزيــد ...
จากอุกบะฮ์ บิน อามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ได้กล่าวว่า: ท่านเราะซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า:
“พวกเจ้าจงระวังในการปะปนกับผู้หญิง” จากนั้นชายชาวอันศอรกล่าวว่า “โอ้ท่านเราะซูลุลลอฮ์ ท่านว่าอย่างไรกับญาติของสามีที่เป็นผู้ชาย? ท่านตอบว่า “จงระวังญาติของสามีที่เป็นผู้ชายเสมือนระวังจากความตาย”
[เศาะฮีห์] - [รายงานโดย อัลบุคอรีย์ และมุสลิม] - [เศาะฮีห์อัลบุคอรีย์ - 5232]
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เตือนให้ระวังการปะปนกับผู้หญิงที่แต่งงานได้ และกล่าวว่า "จงระวังตัวพวกเจ้าเองด้วยเกรงว่าพวกเจ้าจะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับผู้หญิง และการที่ผู้หญิงจะเข้ามายุ่งเกี่ยวกับพวกเจ้า"
ชายชาวอันศอกล่าวว่า “ท่านว่าอย่างไรกับญาติของสามี? เช่น พี่ชายของสามี หลานชาย ลุงของเขา ลูกพี่ลูกน้อง ลูกชายของน้องสาวของเขา และอื่นๆ ซึ่งที่เธอสามารถแต่งงานกับใครก็ได้ ถ้าหากนางยังไม่ได้แต่งงาน
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า จงระวังเขาเหมือนที่เจ้าระวังความตาย! เนื่องจากการอยู่ตามลำพังกับญาติผู้ชายของสามีจะนำไปสู่ฟิตนะฮ์และเสียหายในศาสนา ดังนั้นญาติของสามีที่ไม่ใช่พ่อและลูกจึงสมควรได้รับการห้ามมากกว่าชาวบุคคลอื่น เพราะการอยู่คนเดียวกับญาติสามีนั้นมีโอกาสมากกว่าการอยู่คนเดียวกับคนอื่น และความชั่วจากจุดนั้นมีมากกว่าคนอื่น และการล่อลวงนั้นเป็นไปได้มากกว่า เพื่อให้เขาสามารถเข้าถึงผู้หญิงคนนั้นได้และอยู่คนเดียวกับเธอโดยไม่มีข้อโต้แย้งใด ๆ และเนื่องจากจำเป็นและเป็นไปไม่ได้ที่จะยับยั้งเธอไว้ตามธรรมเนียมที่จะต้องผ่อนปรนในผู้หญิงคนนั้น ดังนั้น อยู่ตามลำพังกับภรรยาของน้องชาย มันคล้ายกับความตายในแง่ของความชั่วร้ายและความเสียหาย ไม่เหมือนชายที่ไม่ใช่มะห์รอม เขาถูกระมัดระวัง
شَبَّهَ (الحَمْوَ) بالموت، قال ابن حجر: والعرب تَصف الشيء المكروه بالموت، وجْهُ الشَّبَهِ أنه موتُ الدِّين إنْ وقعت المعصية، وموتُ المُختلي إن وقعت المعصية ووجب الرَّجْم، وهلاك المرأة بفراق زوجها إذا حَمَلَتْه الغَيْرَة على تَطلِيقِها.من أي كتاب نقل هذا النص وأي صحفة ومجلد