«إِنَّ قُلُوبَ بَنِي آدَمَ كُلَّهَا بَيْنَ إِصْبَعَيْنِ مِنْ أَصَابِعِ الرَّحْمَنِ، كَقَلْبٍ وَاحِدٍ، يُصَرِّفُهُ حَيْثُ يَشَاءُ» ثُمَّ قَالَ رَسُولُ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ: «اللهُمَّ مُصَرِّفَ الْقُلُوبِ صَرِّفْ قُلُوبَنَا عَلَى طَاعَتِكَ».
[صحيح] - [رواه مسلم] - [صحيح مسلم: 2654]
المزيــد ...
จากท่านอับดุลลอฮ์ บิน อัมร์ บิน อัลอาศ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ได้กล่าวว่า: "ฉันได้ยินท่านเราะซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า:
"แท้จริงหัวใจของลูกหลานอาดัมทั้งหมดอยู่ระหว่างสองนิ้วจากบรรดานิ้วของผู้ทรงกรุณาปรานี ซึ่งมันเสมือนหัวใจดวงเดียว พระองค์จะทรงผันเปลี่ยนมันตามความประสงค์ของพระองค์” จากนั้น ท่านเราะซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก็กล่าวดุอาอ์ว่า: «اللهُمَّ مُصَرِّفَ الْقُلُوبِ صَرِّفْ قُلُوبَنَا عَلَى طَاعَتِكَ» (ความหมาย: โอ้ผู้ทรงผันเปลี่ยนหัวใจ โปรดผันเปลี่ยนหัวใจของเราให้มั่นคงอยู่บนการเชื่อฟังพระองค์ด้วยเถิด)"
[เศาะฮีห์] - [รายงานโดย มุสลิม] - [เศาะฮีห์มุสลิม - 2654]
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้บอกว่า หัวใจของมนุษย์ทั้งหมดอยู่ระหว่างสองนิ้วของนิ้วทั้งหลายของพระผู้ทรงเมตตา (อัลรอฮ์มาน) เสมือนหัวใจดวงเดียว พระองค์ทรงพลิกผันมันไปในทิศทางที่พระองค์ประสงค์ หากพระองค์ประสงค์ พระองค์จะทรงทำให้มันมั่นคงบนความจริง และหากพระองค์ประสงค์ พระองค์จะทรงให้มันหลงจากความจริง และการที่พระองค์ทรงพลิกผันหัวใจทั้งหมดนั้นเสมือนการพลิกผันหัวใจดวงเดียว เพราะการงานใด ๆ ของพระองค์ไม่มีสิ่งใดทำให้พระองค์ทรงเหน็ดเหนื่อยหรือถูกขัดขวางได้เลย" จากนั้นท่านนบี (ศ็อลฯ) ได้กล่าวดุอาอ์ว่า: "โอ้อัลลอฮ์ ผู้ทรงพลิกผันหัวใจ ซึ่งบางครั้งพลิกผันไปสู่การเชื่อฟัง บางครั้งไปสู่การฝ่าฝืน บางครั้งไปสู่การรำลึกถึงพระองค์ และบางครั้งไปสู่การลืมเลือนพระองค์ โปรดพลิกผันหัวใจของพวกเราให้อยู่ในการภักดีต่อพระองค์เถิด"
قال الآجري: إن أهل الحق يَصِفُوْن الله عز وجل بما وصف به نفسه عز وجل، وبما وصفه به رسوله صلى الله عليه وسلم، وبما وصفه به الصحابة رضي الله عنهم، وهذا مذهب العلماء ممن اتبع ولم يَبتدِع. انتهى. فأهل السنة يُثْبِتُوْن لله ما أثبته لنفسه من الأسماء والصفات من غير تحريف ولا تعطيل ولا تكييف ولا تمثيل، ويَنْفُون عن الله ما نفاه عن نفسه، ويَسكتون عما لم يَرِدْ به نفيٌ ولا إثبات، قال الله تعالى: (لَيْسَ كَمِثْلِهِ شَيْءٌ وَهُوَ السَّمِيعُ الْبَصِيرُ).لا حاجة لأبينها إذ لم يتجرأ أحد من السلف بأن قال أصبعان حقيقيان وإنما قالوا أصبعان لا نعلمهما. هذا وإن المنصفين يعلمون أن الخلف وإن أوّلوا المعنى بالقدرة والإرادة فهم: لم ينكروا أن له أصبعين لكن رفضوا أن يكون المعنى على ظاهره لقرينة منعت ذلك. لم يأتوا بمعنى مخالف لظاهر الحديث فهو يفيد قدرة الله وإرادته في عباده وهذا ما تأولوا معناه هذا وإن المخالفين لهم حتى وإن أثبتوا الأصبعين الحقيقيين الذين نعلمهما فإنهم لا مفرّ لهم من تأول المعنى