หมวดหมู่​: . . .
+ -
عن عبد الله بن مسعود رضي الله عنه عن النبي صلى الله عليه وسلم أنه قال:

"أكبر الكبائر: الإشراك بالله، والأمن من مَكْرِ الله، والقُنُوطُ من رحمة الله، واليَأْسُ من رَوْحِ الله".
[إسناده صحيح] - [رواه عبد الرزاق]
المزيــد ...

รายงานจากท่านอับดุลเลาะ บิน มัซอูด เราะฎิยัลลอฮฺอันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า "บาปที่ใหญ่ที่สุด คือ การตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ ความรู้สึกปลอดภัยจากอุบาย(การลงโทษ)ของอัลลอฮฺ การสิ้นหวังในความเมตตาของอัลลอฮฺ และการเบื่อหน่ายต่อความเมตตาของอัลลอฮฺ"

الملاحظة
في المصدر وهو كتاب التوحيد هذا من كلام ابن مسعود رضي الله عنه ولم يرفعه للنبي صلى الله عليه وسلم. ورجعت إلى المصدر الأصلي وهو (مصنف عبد الرزاق) فوجدته كذلك عن ابن مسعود ولم يرفعه.
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
الحديث لعله موقوف على ابن مسعود فقد رواه الطبري في تفسيره .وقال عنه الحافظ ابن حجر العسقلاني في فتح الباري موقوف .
النص المقترح لا يوجد...

[สายรายงานของมันระดับเศาะฮีห์ (ถูกต้อง)] - [รายงานโดย อับดุรรอซซาก]

คำอธิบาย​

ท่านเราะซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวในหะดิษบทนี้ถึงบาปหนึ่งที่นับว่าเป็นหนึ่งในบาปใหญ่ที่สุด นั่นก็คือ การทำให้อัลลอฮฺ สุบหานะฮู ทรงมีสิ่งอื่นร่วมด้วยในการเป็นพระเจ้าของพระองค์หรือสิทธิในการเคารพสักการะของพระองค์ และที่เริ่มต้นด้วยการตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ เพราะมันคือบาปที่ใหญ่หลวง และการสิ้นหวังจากอัลลอฮฺ เพราะมันเป็นการคิดที่ไม่ดีต่ออัลลอฮฺ และความโง่เขลาต่อความเมตตาที่กว้างขวางของพระองค์ และความปลอดภัยนั้นมาจากการไม่รีบเร่งของพระองค์ต่อบ่าวด้วยการให้ความสุขจนกระทั่งความตายจะมาเยือนเขาอย่างกะทันหัน และในหะดิษนี้ไม่ได้จำกัดบาปใหญ่ตามที่ได้กล่าวมา เพราะบาปใหญ่นั้นมีมากมาย แต่ความหมายที่จะสื่อถึงคือ บาปที่ใหญ่ที่สุด

الملاحظة
المعنى الإجمالي لهذا الحديث نسخه الباحث من شرح الفوزان لحديث آخر قبله مختلف في لفظه عن هذا المتن! فالحل الأسلم لهذا التنبيه والذي قبله: أن يُعتمد لفظ حديث ابن عباس الذي قبل هذا، فيكون الإجمالي مشروحا.
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
الترتيب في متن الحديث مختلف عن الترتيب في الشرح وأيضاً لم يشرح إلا ثلاثة من الكبائر الأربعة المذكورة في الحديث
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
يحتاج إلى ترتيب الكبائر في الشرح كترتيبها في الحديث، وتذكر الكبائر الأربعة
النص المقترح لا يوجد...

บทเรียนที่ได้รับจากฮะดีษ

  1. บาปนั้นแบ่งออกเป็นสองประเภท คือบาปใหญ่และบาปเล็ก
  2. การตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺเป็นบาปที่ใหญ่หลวงที่สุดและเป็นบาปที่ใหญ่ที่สุด
  3. ห้ามรู้สึกว่าปลอดภัยจากอุบายของอัลลอฮฺ สุบหานะฮู และการสิ้นหวังในความเมตตาของพระองค์ เพราะทั้งสองอยู่ในบาปที่ใหญ่ที่สุด
  4. อนุญาตให้กล่าวว่าอัลลอฮฺ ตะอาลาทรงมีอุบายเมื่อเผชิญหน้ากับบรรดาผู้มีแผนร้ายทั้งหลาย และนี่คือคุณลักษณะแห่งความสมบูรณ์ และสิ่งที่น่ารังเกียจคือการวางแผนร้ายกับผู้ไม่สมควร
  5. จำเป็นสำหรับบ่าวที่จะต้องอยู่ระหว่างความกลัวและความหวัง ซึ่งเมื่อเขากลัวเขาก็จะไม่สิ้นหวังและเมื่อเขาหวังเขาก็จะไม่รู้สึกว่าเขาปลอดภัยแล้ว
  6. ยืนยันในคุณลักษณะของความเมตตาของอัลลอฮฺ ตะอาลา คุณลักษณะที่เหมาะสมต่อความยิ่งใหญ่ของพระองค์
  7. วาญิบ(จำเป็น)ต้องคิดดีต่ออัลลอฮฺ อัซซะวะญัลฺ
الملاحظة
نص الحديث لا يساعد على ذلك، حيث إنه ليس وصفًا وإنما هو إضافة (مكر الله). وقوله (في مقابلة) أين المقابلة في متن الحديث؟؟
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
هذه من لفظ أثر ابن مسعود، فإن اعتُمد حديث ابن عباس تُحذف.
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
جواز وصف الله -تعالى- بالمكر في مقابلة الماكرين، وهذه صفة كمال، والمذموم هو المكر بمن لا يستحق أن يُمكر به.
نص الحديث لا يساعد على ذلك، حيث إنه ليس وصفًا وإنما هو إضافة (مكر الله). وقوه (في مقابلة) أين المقابلة في متن الحديث؟؟
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
إثبات صفة الرحمة لله -تعالى- على وجه يليق بجلاله.
هذه من لفظ أثر ابن مسعود، فإن اعتُمد حديث ابن عباس تُحذف.
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
جواز وصف الله -تعالى- بالمكر في مقابلة الماكرين، وهذه صفة كمال، والمذموم هو المكر بمن لا يستحق أن يُمكر به.
حذف
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
انقسام الذنوب إلى كبائر وصغائر.
والكبائر إلى درجات بعضها أكبر من بعض
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
تحريم الأمن من مكر الله -سبحانه- واليأس من رحمته، وأنهما من أكبر الكبائر.
الحديث فيه/: القنوط من رحمة الله واليأس من روح الله
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
جواز وصف الله -تعالى- بالمكر في مقابلة الماكرين، وهذه صفة كمال، والمذموم هو المكر بمن لا يستحق أن يُمكر به.
تحذف وليست مذكورة في الحديث مباشرة
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
إثبات صفة الرحمة لله -تعالى- على وجه يليق بجلاله.
تحذف
النص المقترح لا يوجد...
الملاحظة
أن الواجب على العبد أن يكون بين الخوف والرجاء، فإذا خاف لا ييأس، وإذا رجا لا يأمن.
فإذا خاف لا ييأس، وإذا رجا لا يأمن. كيف وإذا رجا لا يأمن؟؟؟؟ وإذا خاف لا ييأس؟؟؟؟
النص المقترح فإذا هم بمعصية خاف الله وانتهى، وإذا رجا لا ييأس.
การแปล: อังกฤษ อูรดู เนื้อหาภาษาสเปน อินโดนีเซีย ภาษาอุยกูร์ เบ็งกอล ฝรั่งเศส ตุรกี รัสเซีย บอสเนีย ภาษาสิงหล ภาษาฮินดี จีน เปอร์เซีย​ ภาษาเวียดนาม ตากาล็อก ภาษาเคิร์ด ภาษาเฮาซา ภาษาโปรตุเกส ภาษามลยาฬัม ภาษาเตลูกู ภาษาสวาฮีลี ภาษาทมิฬ พม่า เยอรมัน ญี่ปุ่น ปุชตู อะซามีส อัลบาเนียน
ดูการแปล
หมวดหมู่​
  • . .
ดูเพิ่มเติม